Science Experiences Management for Early Childhood
E-Portfolio Subject to the Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 /2557
วันอังคารที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
...........................................................................................................................................
ความรู้ที่ได้รับ
ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัย(Research)และโทรทัศน์ครู(Teachers TV)ของแต่ละคน
โทรทัศน์ครู(Teachers TV)
**การกำเนิดของเสียง
= การใช้ช้อนซ้อม/โลหะที่มีคุณสมบัติต่างกันมาตีกัน
**สารอาหารในชีวิตประจำวัน
= นำแกงส้มมาแล้วนำกระดาษทดลองจุ่มลงไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
**ไฟฟ้าและพรรณพืช
= สำรวจ/สังเกตการเจริญเติบโตของพรรณพืชการทดลองโดยใช้กระแสไฟฟ้าทำกับน้ำเกิดOxygen ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช
วิจัย(Research)
**ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
= การลงมือปฏิบัติ/คั้นน้ำจากผัก/ผลไม้/ดอกไม้เพื่อเอาสีมาทำผสมอาหารหรือทำงานศิลปะ
**ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มัต่อทักษะการแสวงหาความรู้
**การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องดื่มสมุนไพร
= การจำแนก/สังเกต/สื่อความหมายของข้อมูล
การทำวาฟเฟิล waffle
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
...........................................................................................................................................
ความรู้ที่ได้รับ
ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัย(Research)และโทรทัศน์ครู(Teachers TV)ของแต่ละคน
โทรทัศน์ครู(Teachers TV)
**การกำเนิดของเสียง
= การใช้ช้อนซ้อม/โลหะที่มีคุณสมบัติต่างกันมาตีกัน
**สารอาหารในชีวิตประจำวัน
= นำแกงส้มมาแล้วนำกระดาษทดลองจุ่มลงไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
**ไฟฟ้าและพรรณพืช
= สำรวจ/สังเกตการเจริญเติบโตของพรรณพืชการทดลองโดยใช้กระแสไฟฟ้าทำกับน้ำเกิดOxygen ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช
วิจัย(Research)
**ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
= การลงมือปฏิบัติ/คั้นน้ำจากผัก/ผลไม้/ดอกไม้เพื่อเอาสีมาทำผสมอาหารหรือทำงานศิลปะ
**ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มัต่อทักษะการแสวงหาความรู้
**การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องดื่มสมุนไพร
= การจำแนก/สังเกต/สื่อความหมายของข้อมูล
การทำวาฟเฟิล waffle
วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
...............................................................................................................................................
**มีการนำเสนอเเผนการสอนต่อจากอาทิตย์ที่เเล้ว
คือ กลุ่มที่ 6 เรื่อง นกหงษ์หยก
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
...............................................................................................................................................
**มีการนำเสนอเเผนการสอนต่อจากอาทิตย์ที่เเล้ว
คือ กลุ่มที่ 6 เรื่อง นกหงษ์หยก
กลุ่มที่ 8 เรื่อง สัปปะรด (pine apple)
กลุ่มที่ 9 เรื่อง ส้ม (orange)
วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
............................................................................................................................
ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกกลุ่มนำเสนองานหน้าชั้นเรียน โดยการสอบสอนตามแผนการเรียนที่เราเขียนส่งอาจารย์ ซึ่งมีหน่วยต่างๆมากมาย กลุ่มเรียน102 มีทั้งหมด9กลุ่ม ซึ่งได้เรียงการนำเสนองานตามวันดังนี้
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์ กลุ่มที่2 หน่วยนกหงส์หยกใช้แผนวันอังคาร
กลุ่มที่3 หน่วยข้าวโพดใช้แผนวันพุธ กลุ่มที่4 หน่วยแตงโมงใช้แผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่5 หน่วยกล้วยใช้แผนวันศุกร์ กลุ่มที่6 หน่วยช้างใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่7 หน่วยผีเสื้อใช้แผนวันอังคาร กลุ่มที่8 หน่วยสัปปะรดใช้แผนวันพุธ
กลุ่มที่9 หน่วยส้มใช้แผนวันพฤหัสบดี
***วันนี้มีการนำเสนองานทั้งหมด 6กลุ่ม อีก3กลุ่มนำเสนออาทิตย์ต่อไปนี้
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่ 3 หน่วยข้าวโพดเเผนวันพุธ
กลุ่มที่ 4 หน่วยเเตงโมเเผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่ 5 หน่วยเรื่องกล้วยเเผนวันศุกร์
กลุ่มที่ 6 หน่วยเเรื่องผีเสื้อเเผนวันจันทร์
กลุ่มที่ 7 หน่วยเรื่องช้างเเผนวันอังคาร
ความรู้ที่ได้รับ
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะว่าการเขียนแผนเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาในการทำงานในวิชาชีพครู ในการเขียนแผนนั้นต้องเป็นประโยชน์และใช้ได้จริงกับเด็กปฐมวัย เพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์แก่ตัวเด็กด้วย เมื่อมีแผนแล้ว การสอนก็ยิ่งมีความจำเป็นมากเพราะเราจะสอนอย่างไรให้เด็กได้รับความรู้ ทำอย่างไรให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ และเด็กสามารถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวันนั้นเอง
ประเมินผลหลังการเรียน
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน บทบาทเป็นคุณครูนั้นเอง
เพื่อน = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนตั้งใจเรียน
อาจารย์= ในวันนี้อาจารย์จะคอยชี้แนะให้แต่ล่ะกลุ่มฟังถึงข้อที่ควรปรับปรุง เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะเรื่องอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
............................................................................................................................
ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกกลุ่มนำเสนองานหน้าชั้นเรียน โดยการสอบสอนตามแผนการเรียนที่เราเขียนส่งอาจารย์ ซึ่งมีหน่วยต่างๆมากมาย กลุ่มเรียน102 มีทั้งหมด9กลุ่ม ซึ่งได้เรียงการนำเสนองานตามวันดังนี้
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์ กลุ่มที่2 หน่วยนกหงส์หยกใช้แผนวันอังคาร
กลุ่มที่3 หน่วยข้าวโพดใช้แผนวันพุธ กลุ่มที่4 หน่วยแตงโมงใช้แผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่5 หน่วยกล้วยใช้แผนวันศุกร์ กลุ่มที่6 หน่วยช้างใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่7 หน่วยผีเสื้อใช้แผนวันอังคาร กลุ่มที่8 หน่วยสัปปะรดใช้แผนวันพุธ
กลุ่มที่9 หน่วยส้มใช้แผนวันพฤหัสบดี
***วันนี้มีการนำเสนองานทั้งหมด 6กลุ่ม อีก3กลุ่มนำเสนออาทิตย์ต่อไปนี้
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่ 3 หน่วยข้าวโพดเเผนวันพุธ
กลุ่มที่ 4 หน่วยเเตงโมเเผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่ 5 หน่วยเรื่องกล้วยเเผนวันศุกร์
กลุ่มที่ 6 หน่วยเเรื่องผีเสื้อเเผนวันจันทร์
กลุ่มที่ 7 หน่วยเรื่องช้างเเผนวันอังคาร
ความรู้ที่ได้รับ
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะว่าการเขียนแผนเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาในการทำงานในวิชาชีพครู ในการเขียนแผนนั้นต้องเป็นประโยชน์และใช้ได้จริงกับเด็กปฐมวัย เพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์แก่ตัวเด็กด้วย เมื่อมีแผนแล้ว การสอนก็ยิ่งมีความจำเป็นมากเพราะเราจะสอนอย่างไรให้เด็กได้รับความรู้ ทำอย่างไรให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ และเด็กสามารถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวันนั้นเอง
ประเมินผลหลังการเรียน
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน บทบาทเป็นคุณครูนั้นเอง
เพื่อน = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนตั้งใจเรียน
อาจารย์= ในวันนี้อาจารย์จะคอยชี้แนะให้แต่ล่ะกลุ่มฟังถึงข้อที่ควรปรับปรุง เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะเรื่องอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง
บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
.........................................................................................................................
วันนี้อาจารย์อธิบายวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง และอธิบายการนำเสนอแผนของเเต่ละกลุ่ม โดยมีหัวข้อดังนี
1. สาระที่ควรเรียนรุ้ ประกอบด้วย
- ธรรมชาติรอบตัว
- สภาพแวดล้อมเเละบุคคล
- ตัวเด็ก
- สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
2. เนื่อหา
3. แนวคิด
4. ประสบการณ์สำคัญ
5. บูรณาการรายวิชา
6. เว็ปกิจกรรม 6 กิจกรรม
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
- กิจกรรมเสรี
- กิจกรรมเคลื่อนไหวเเละจังหวะ
- การเล่นกลางเเจ้ง
- เกมการศึกษา
7. กรอบพัฒนาการ
8. วัตถุประสงค์
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ขั้นตอนการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ไปปรับแก้ไขให้เหมาะสมกับพัฒนาการและความต้องการของเด็กปฐมวัยได้ เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่ตรงตามวัย
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์สอน ซักถามเมื่อมีข้อสงสัย
เพื่อน: ตั้งใจเรียนไม่คุยกัน นำเสนอแผนของเเต่ละกลุ่มออกความเห็น
อาจารย์: สนใจในการสอนนักศึกษา รับฟังปัญหาของนักศึกษาอธิบายการเขียนแผนอย่างละเอียด
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
.........................................................................................................................
วันนี้อาจารย์อธิบายวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง และอธิบายการนำเสนอแผนของเเต่ละกลุ่ม โดยมีหัวข้อดังนี
1. สาระที่ควรเรียนรุ้ ประกอบด้วย
- ธรรมชาติรอบตัว
- สภาพแวดล้อมเเละบุคคล
- ตัวเด็ก
- สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
2. เนื่อหา
3. แนวคิด
4. ประสบการณ์สำคัญ
5. บูรณาการรายวิชา
6. เว็ปกิจกรรม 6 กิจกรรม
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
- กิจกรรมเสรี
- กิจกรรมเคลื่อนไหวเเละจังหวะ
- การเล่นกลางเเจ้ง
- เกมการศึกษา
7. กรอบพัฒนาการ
8. วัตถุประสงค์
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ขั้นตอนการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ไปปรับแก้ไขให้เหมาะสมกับพัฒนาการและความต้องการของเด็กปฐมวัยได้ เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่ตรงตามวัย
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์สอน ซักถามเมื่อมีข้อสงสัย
เพื่อน: ตั้งใจเรียนไม่คุยกัน นำเสนอแผนของเเต่ละกลุ่มออกความเห็น
อาจารย์: สนใจในการสอนนักศึกษา รับฟังปัญหาของนักศึกษาอธิบายการเขียนแผนอย่างละเอียด
บันทึกอนุทินครั้งที่ 11
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียน 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
..........................................................................................................................
1 . กิจกรรมดอกไม้บาน
2. ขวดน้ำต่างระดับ
จากกิจกรรมนี้ ที่น้ำข้างล่างไหลแรงกว่า เพราะ อากาศที่ดันน้ำออกมา
3. น้ำไหลจากสายยาง
จากกิจกรรมนี้ ถ้ายิ่งต่ำแรงดันน้ำก็ยิ่งเยอะ เพราะ แรงดันน้ำจากดินน้ำมันจึงทำให้ยิ่งอยู่ต่ำน้ำยิ่งพุงสูง
4. ดินน้ำมันลอยน้ำ
จากกิจกรรมนี้ ที่ไฟลุก เพราะ มีออกซิเจนแต่พอเอาแก้วมาคอบทำไมถึงดับ ? ที่ไฟดับเป็นเพราะว่า ไม่มีอากาสเข้าไปข้างในไฟจึงดับ
การประยุกต์ใช้
1. สามารถไปใช้เป็นการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ได้
2. เด็กได้รู้จักสังเกตและได้เห็นความแตกต่างในเรื่องของรูปทรงและความเป็นเหตุเป็นผล
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์ดี แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน : ตั้งใจฟังอาจารย์ดี ออกไปร่วมกิจกรรมได้ดี มีความกล้าแสดงออก
อาจารย์ : สรุปท้ายกิจกรรมได้เข้าใจ ทำให้รู้เหตุและผลมากขึ้น แต่งกายสุภาพ
การประยุกต์ใช้
1. สามารถไปใช้เป็นการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ได้
2. เด็กได้รู้จักสังเกตและได้เห็นความแตกต่างในเรื่องของรูปทรงและความเป็นเหตุเป็นผล
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์ดี แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน : ตั้งใจฟังอาจารย์ดี ออกไปร่วมกิจกรรมได้ดี มีความกล้าแสดงออก
อาจารย์ : สรุปท้ายกิจกรรมได้เข้าใจ ทำให้รู้เหตุและผลมากขึ้น แต่งกายสุภาพ
สิ่งประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์
รถพลังงานลม
รถพลังงานลม
อุปกรณ์
1.กระกาษเเข็ง
2.เเก้วกระดาษ
3.หลอดดูดน้ำ
4.ตะเกียบไม้
5.เทปกาว
6.กาวน้ำ
7.ฝาขวดพลาสติก
8.ดินน้ำมัน
วิธีทำรถพลังงานลม
1.ตัดหลอดดูดน้ำ 2 หลอดให้ยาวกว่าด้านกว้างของกระดาษเเข็งเล็กน้อย ตะเกียบ 1 คู่เเละฝาขวดน้ำ 4 ฝา
2.ตัดกระดาษเเข็งเพื่อเป็นฐานของรถ อาจจะใช้กระดาษสีลายต่างๆ ติดเพื่อเพิ่มเติมความสวยงาม เเล้วติดหลอไว้ด้านล่างของฐาน ทั้ง 2 ข้าง จากนั้นนำไม้ตะเกียบสอดเข้าไปในหลอด
4.หลังจากนั้น นำดินน้ำมันมายัดใส่ในฝาขวดน้ำที่เตรียมไว้ เมื่อทำเสร็จเเล้วนำฝาขวดน้ำมาติดกับปลายตะเกียบไม้ทั้ 4 ด้าน
5.นำเเก้วกระดาษมาติดไว้บนฐาน เเละตกเเต่งให้สวยงาม พร้อมเล่น
วิธีเล่นรถพลังงานลม
ใช้ปากเป่าเพื่อให้รถเคลื่อนตัวไข้างหน้า สามารถเล่นเเข่งกันได้เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)