E-Portfolio Subject to the Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 /2557
วันอังคารที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
...........................................................................................................................................
ความรู้ที่ได้รับ
ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัย(Research)และโทรทัศน์ครู(Teachers TV)ของแต่ละคน
โทรทัศน์ครู(Teachers TV)
**การกำเนิดของเสียง
= การใช้ช้อนซ้อม/โลหะที่มีคุณสมบัติต่างกันมาตีกัน
**สารอาหารในชีวิตประจำวัน
= นำแกงส้มมาแล้วนำกระดาษทดลองจุ่มลงไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
**ไฟฟ้าและพรรณพืช
= สำรวจ/สังเกตการเจริญเติบโตของพรรณพืชการทดลองโดยใช้กระแสไฟฟ้าทำกับน้ำเกิดOxygen ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช
วิจัย(Research)
**ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
= การลงมือปฏิบัติ/คั้นน้ำจากผัก/ผลไม้/ดอกไม้เพื่อเอาสีมาทำผสมอาหารหรือทำงานศิลปะ
**ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มัต่อทักษะการแสวงหาความรู้
**การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องดื่มสมุนไพร
= การจำแนก/สังเกต/สื่อความหมายของข้อมูล
การทำวาฟเฟิล waffle
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
...........................................................................................................................................
ความรู้ที่ได้รับ
ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัย(Research)และโทรทัศน์ครู(Teachers TV)ของแต่ละคน
โทรทัศน์ครู(Teachers TV)
**การกำเนิดของเสียง
= การใช้ช้อนซ้อม/โลหะที่มีคุณสมบัติต่างกันมาตีกัน
**สารอาหารในชีวิตประจำวัน
= นำแกงส้มมาแล้วนำกระดาษทดลองจุ่มลงไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
**ไฟฟ้าและพรรณพืช
= สำรวจ/สังเกตการเจริญเติบโตของพรรณพืชการทดลองโดยใช้กระแสไฟฟ้าทำกับน้ำเกิดOxygen ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช
วิจัย(Research)
**ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
= การลงมือปฏิบัติ/คั้นน้ำจากผัก/ผลไม้/ดอกไม้เพื่อเอาสีมาทำผสมอาหารหรือทำงานศิลปะ
**ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มัต่อทักษะการแสวงหาความรู้
**การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องดื่มสมุนไพร
= การจำแนก/สังเกต/สื่อความหมายของข้อมูล
การทำวาฟเฟิล waffle
วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
...............................................................................................................................................
**มีการนำเสนอเเผนการสอนต่อจากอาทิตย์ที่เเล้ว
คือ กลุ่มที่ 6 เรื่อง นกหงษ์หยก
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
...............................................................................................................................................
**มีการนำเสนอเเผนการสอนต่อจากอาทิตย์ที่เเล้ว
คือ กลุ่มที่ 6 เรื่อง นกหงษ์หยก
กลุ่มที่ 8 เรื่อง สัปปะรด (pine apple)
กลุ่มที่ 9 เรื่อง ส้ม (orange)
วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
............................................................................................................................
ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกกลุ่มนำเสนองานหน้าชั้นเรียน โดยการสอบสอนตามแผนการเรียนที่เราเขียนส่งอาจารย์ ซึ่งมีหน่วยต่างๆมากมาย กลุ่มเรียน102 มีทั้งหมด9กลุ่ม ซึ่งได้เรียงการนำเสนองานตามวันดังนี้
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์ กลุ่มที่2 หน่วยนกหงส์หยกใช้แผนวันอังคาร
กลุ่มที่3 หน่วยข้าวโพดใช้แผนวันพุธ กลุ่มที่4 หน่วยแตงโมงใช้แผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่5 หน่วยกล้วยใช้แผนวันศุกร์ กลุ่มที่6 หน่วยช้างใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่7 หน่วยผีเสื้อใช้แผนวันอังคาร กลุ่มที่8 หน่วยสัปปะรดใช้แผนวันพุธ
กลุ่มที่9 หน่วยส้มใช้แผนวันพฤหัสบดี
***วันนี้มีการนำเสนองานทั้งหมด 6กลุ่ม อีก3กลุ่มนำเสนออาทิตย์ต่อไปนี้
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่ 3 หน่วยข้าวโพดเเผนวันพุธ
กลุ่มที่ 4 หน่วยเเตงโมเเผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่ 5 หน่วยเรื่องกล้วยเเผนวันศุกร์
กลุ่มที่ 6 หน่วยเเรื่องผีเสื้อเเผนวันจันทร์
กลุ่มที่ 7 หน่วยเรื่องช้างเเผนวันอังคาร
ความรู้ที่ได้รับ
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะว่าการเขียนแผนเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาในการทำงานในวิชาชีพครู ในการเขียนแผนนั้นต้องเป็นประโยชน์และใช้ได้จริงกับเด็กปฐมวัย เพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์แก่ตัวเด็กด้วย เมื่อมีแผนแล้ว การสอนก็ยิ่งมีความจำเป็นมากเพราะเราจะสอนอย่างไรให้เด็กได้รับความรู้ ทำอย่างไรให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ และเด็กสามารถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวันนั้นเอง
ประเมินผลหลังการเรียน
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน บทบาทเป็นคุณครูนั้นเอง
เพื่อน = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนตั้งใจเรียน
อาจารย์= ในวันนี้อาจารย์จะคอยชี้แนะให้แต่ล่ะกลุ่มฟังถึงข้อที่ควรปรับปรุง เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะเรื่องอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
............................................................................................................................
ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกกลุ่มนำเสนองานหน้าชั้นเรียน โดยการสอบสอนตามแผนการเรียนที่เราเขียนส่งอาจารย์ ซึ่งมีหน่วยต่างๆมากมาย กลุ่มเรียน102 มีทั้งหมด9กลุ่ม ซึ่งได้เรียงการนำเสนองานตามวันดังนี้
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์ กลุ่มที่2 หน่วยนกหงส์หยกใช้แผนวันอังคาร
กลุ่มที่3 หน่วยข้าวโพดใช้แผนวันพุธ กลุ่มที่4 หน่วยแตงโมงใช้แผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่5 หน่วยกล้วยใช้แผนวันศุกร์ กลุ่มที่6 หน่วยช้างใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่7 หน่วยผีเสื้อใช้แผนวันอังคาร กลุ่มที่8 หน่วยสัปปะรดใช้แผนวันพุธ
กลุ่มที่9 หน่วยส้มใช้แผนวันพฤหัสบดี
***วันนี้มีการนำเสนองานทั้งหมด 6กลุ่ม อีก3กลุ่มนำเสนออาทิตย์ต่อไปนี้
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่ 3 หน่วยข้าวโพดเเผนวันพุธ
กลุ่มที่ 4 หน่วยเเตงโมเเผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่ 5 หน่วยเรื่องกล้วยเเผนวันศุกร์
กลุ่มที่ 6 หน่วยเเรื่องผีเสื้อเเผนวันจันทร์
กลุ่มที่ 7 หน่วยเรื่องช้างเเผนวันอังคาร
ความรู้ที่ได้รับ
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เพราะว่าการเขียนแผนเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาในการทำงานในวิชาชีพครู ในการเขียนแผนนั้นต้องเป็นประโยชน์และใช้ได้จริงกับเด็กปฐมวัย เพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์แก่ตัวเด็กด้วย เมื่อมีแผนแล้ว การสอนก็ยิ่งมีความจำเป็นมากเพราะเราจะสอนอย่างไรให้เด็กได้รับความรู้ ทำอย่างไรให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ และเด็กสามารถนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวันนั้นเอง
ประเมินผลหลังการเรียน
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยไม่ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ในห้องเรียนก็ตั้งใจเรียนเวลาที่อาจารย์สอนหรืออธิบาย และคอยปฏิบัติตามและจดบันทึกลงสมุดอยู่อย่างเสมอ เมื่ออาจารย์ถามคำถาม ก็จะคอยตอบอยู่เสมอ ไม่ว่าคำตอบจะถูกจะผิดก็ตาม ได้มีส่วนร่วมในการออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน บทบาทเป็นคุณครูนั้นเอง
เพื่อน = ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนตั้งใจเรียน
อาจารย์= ในวันนี้อาจารย์จะคอยชี้แนะให้แต่ล่ะกลุ่มฟังถึงข้อที่ควรปรับปรุง เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้จริง อาจารย์มักมีการถามเจาะจงไปทีล่ะเรื่องอยู่เสมอเพื่อที่ให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างแท้จริง
บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
.........................................................................................................................
วันนี้อาจารย์อธิบายวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง และอธิบายการนำเสนอแผนของเเต่ละกลุ่ม โดยมีหัวข้อดังนี
1. สาระที่ควรเรียนรุ้ ประกอบด้วย
- ธรรมชาติรอบตัว
- สภาพแวดล้อมเเละบุคคล
- ตัวเด็ก
- สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
2. เนื่อหา
3. แนวคิด
4. ประสบการณ์สำคัญ
5. บูรณาการรายวิชา
6. เว็ปกิจกรรม 6 กิจกรรม
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
- กิจกรรมเสรี
- กิจกรรมเคลื่อนไหวเเละจังหวะ
- การเล่นกลางเเจ้ง
- เกมการศึกษา
7. กรอบพัฒนาการ
8. วัตถุประสงค์
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ขั้นตอนการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ไปปรับแก้ไขให้เหมาะสมกับพัฒนาการและความต้องการของเด็กปฐมวัยได้ เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่ตรงตามวัย
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์สอน ซักถามเมื่อมีข้อสงสัย
เพื่อน: ตั้งใจเรียนไม่คุยกัน นำเสนอแผนของเเต่ละกลุ่มออกความเห็น
อาจารย์: สนใจในการสอนนักศึกษา รับฟังปัญหาของนักศึกษาอธิบายการเขียนแผนอย่างละเอียด
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
.........................................................................................................................
วันนี้อาจารย์อธิบายวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง และอธิบายการนำเสนอแผนของเเต่ละกลุ่ม โดยมีหัวข้อดังนี
1. สาระที่ควรเรียนรุ้ ประกอบด้วย
- ธรรมชาติรอบตัว
- สภาพแวดล้อมเเละบุคคล
- ตัวเด็ก
- สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
2. เนื่อหา
3. แนวคิด
4. ประสบการณ์สำคัญ
5. บูรณาการรายวิชา
6. เว็ปกิจกรรม 6 กิจกรรม
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
- กิจกรรมเสรี
- กิจกรรมเคลื่อนไหวเเละจังหวะ
- การเล่นกลางเเจ้ง
- เกมการศึกษา
7. กรอบพัฒนาการ
8. วัตถุประสงค์
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ขั้นตอนการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ไปปรับแก้ไขให้เหมาะสมกับพัฒนาการและความต้องการของเด็กปฐมวัยได้ เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่ตรงตามวัย
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์สอน ซักถามเมื่อมีข้อสงสัย
เพื่อน: ตั้งใจเรียนไม่คุยกัน นำเสนอแผนของเเต่ละกลุ่มออกความเห็น
อาจารย์: สนใจในการสอนนักศึกษา รับฟังปัญหาของนักศึกษาอธิบายการเขียนแผนอย่างละเอียด
บันทึกอนุทินครั้งที่ 11
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี ภาคเรียน 1/2557
กลุ่มเรียน 102 เรียนวันอังคาร 14:10 ห้อง 434
..........................................................................................................................
1 . กิจกรรมดอกไม้บาน
2. ขวดน้ำต่างระดับ
จากกิจกรรมนี้ ที่น้ำข้างล่างไหลแรงกว่า เพราะ อากาศที่ดันน้ำออกมา
3. น้ำไหลจากสายยาง
จากกิจกรรมนี้ ถ้ายิ่งต่ำแรงดันน้ำก็ยิ่งเยอะ เพราะ แรงดันน้ำจากดินน้ำมันจึงทำให้ยิ่งอยู่ต่ำน้ำยิ่งพุงสูง
4. ดินน้ำมันลอยน้ำ
จากกิจกรรมนี้ ที่ไฟลุก เพราะ มีออกซิเจนแต่พอเอาแก้วมาคอบทำไมถึงดับ ? ที่ไฟดับเป็นเพราะว่า ไม่มีอากาสเข้าไปข้างในไฟจึงดับ
การประยุกต์ใช้
1. สามารถไปใช้เป็นการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ได้
2. เด็กได้รู้จักสังเกตและได้เห็นความแตกต่างในเรื่องของรูปทรงและความเป็นเหตุเป็นผล
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์ดี แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน : ตั้งใจฟังอาจารย์ดี ออกไปร่วมกิจกรรมได้ดี มีความกล้าแสดงออก
อาจารย์ : สรุปท้ายกิจกรรมได้เข้าใจ ทำให้รู้เหตุและผลมากขึ้น แต่งกายสุภาพ
การประยุกต์ใช้
1. สามารถไปใช้เป็นการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ได้
2. เด็กได้รู้จักสังเกตและได้เห็นความแตกต่างในเรื่องของรูปทรงและความเป็นเหตุเป็นผล
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์ดี แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน : ตั้งใจฟังอาจารย์ดี ออกไปร่วมกิจกรรมได้ดี มีความกล้าแสดงออก
อาจารย์ : สรุปท้ายกิจกรรมได้เข้าใจ ทำให้รู้เหตุและผลมากขึ้น แต่งกายสุภาพ
สิ่งประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์
รถพลังงานลม
รถพลังงานลม
อุปกรณ์
1.กระกาษเเข็ง
2.เเก้วกระดาษ
3.หลอดดูดน้ำ
4.ตะเกียบไม้
5.เทปกาว
6.กาวน้ำ
7.ฝาขวดพลาสติก
8.ดินน้ำมัน
วิธีทำรถพลังงานลม
1.ตัดหลอดดูดน้ำ 2 หลอดให้ยาวกว่าด้านกว้างของกระดาษเเข็งเล็กน้อย ตะเกียบ 1 คู่เเละฝาขวดน้ำ 4 ฝา
2.ตัดกระดาษเเข็งเพื่อเป็นฐานของรถ อาจจะใช้กระดาษสีลายต่างๆ ติดเพื่อเพิ่มเติมความสวยงาม เเล้วติดหลอไว้ด้านล่างของฐาน ทั้ง 2 ข้าง จากนั้นนำไม้ตะเกียบสอดเข้าไปในหลอด
4.หลังจากนั้น นำดินน้ำมันมายัดใส่ในฝาขวดน้ำที่เตรียมไว้ เมื่อทำเสร็จเเล้วนำฝาขวดน้ำมาติดกับปลายตะเกียบไม้ทั้ 4 ด้าน
5.นำเเก้วกระดาษมาติดไว้บนฐาน เเละตกเเต่งให้สวยงาม พร้อมเล่น
วิธีเล่นรถพลังงานลม
ใช้ปากเป่าเพื่อให้รถเคลื่อนตัวไข้างหน้า สามารถเล่นเเข่งกันได้เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน
วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 10
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 21/10/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434
อาจารย์ให้นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่นจากวิทยาศาสตร์อีกครั้ง ซึ่งทำมาจากวัสดุเหลือใช้โดยอธิบาย
วิธีการเล่น วิธีการทำเเละนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้อย่างไร เด็กได้อะไรกับกิจกกรมนี้ สิ่งประดิษฐ์ของดิฉัน คือ รถเป่าลม
อุปรณ์
1.เเกนทิชชู
2.กาว
3.สีเมจิก
4.ที่เกาะกระดาษ
5.กระดาษสี
6.กรรไกร
7.ไหมพรม
วิธีการทำ
1.ตัดเชือกออกโดยวัดความยาวจากคอลงมา พอประมาณ
2.นำเเกนทิชชูมาตัดครึ่งเเล้วเจาะรู ประมาณกลางๆทั้งสองฝั่ง
3.วาดรูปอะไรก็ได้ตามใจชอบเเละเเปะลงไปกับเเกนทิชชู
4.นำเชือกมาร้อยเข้ากับรูทั้งสองข้าง
5.มัดเป็นปมให้เเน่นๆ
วิธีการเล่น
ดึงเชือกสลับกันขึ้นลง เเค่นี้ตุ๊กตาของเราก็เรื่อยขึ้นข้างบนกะดุ๊กกะดิกได้
การนำเอาไปใช้
สำหรับความรู้ที่ได้รับในวันนี้ สามารถนำไปใช้ได้คือนำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้เพราะนอกจากจะได้ความสนุกสนานในการเล่นเเล้วยังได้ความรู้ที่สามารถเชื่อมโยงเข้าสู้การเรียนรู้ผ่านรู้เเบบการเรียนเเบบวิทยาศาสตร์อีกด้วย
การประเมินผล
ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังสิ่งที่เพื่อนๆนำเสนอเเละร่วมกิจกรรมภายในห้องเรียน
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆ เเต่งกายถูกระเบียบ เข้าเรียนตรงเวลานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ได้ดี มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเเละมีการเเสดงความคิดเห็นต่างๆ ที่อาจารย์ซักถาม
ประเมินครูผู้สอน : อาจารย์มีเทคนิคในการสอนที่น่าสนใจ มีการใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนรวมในการใช้ความคิดหาวิธีการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 14/10/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434
อาจารย์ให้นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่นจากวิทยาศาสตร์ ซึ่งทำมาจากวัสดุเหลือใช้โดยอธิบาย
วิธีการเล่น วิธีการทำและนำไปใช้กับเด็กในเรื่องอะไร เด็กได้อะไรจากกิจกรรมนี้
การประยุกต์ใช้
สามารถนำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนให้แก่เด็กได้
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังเพื่อนรายงานดี มีคุยบ้างเป็นบางครั้ง แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน: มีพูดคุยเสียงดังเป็นบางครั้ง แต่งกายเรียบร้อย
อาจารย์ : สรุปได้เข้าใจง่ายและให้นักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ดี
อาจารย์ให้นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่นจากวิทยาศาสตร์ ซึ่งทำมาจากวัสดุเหลือใช้โดยอธิบาย
วิธีการเล่น วิธีการทำและนำไปใช้กับเด็กในเรื่องอะไร เด็กได้อะไรจากกิจกรรมนี้
การประยุกต์ใช้
สามารถนำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนให้แก่เด็กได้
การประเมิน
ตนเอง : ตั้งใจฟังเพื่อนรายงานดี มีคุยบ้างเป็นบางครั้ง แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน: มีพูดคุยเสียงดังเป็นบางครั้ง แต่งกายเรียบร้อย
อาจารย์ : สรุปได้เข้าใจง่ายและให้นักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ดี
บันทึกอนุทินครั้งที่ 8
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 7/10/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434
*ในวันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเพราะเป็นสัปดาห์ของการสอบกลางภาคของภาคเรียนที่ 1
บันทึกอนุทินครั้งที่ 7
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 30/09/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434
ในวันนี้อาจารย์ได้ยกเลิกคลาส จึงไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากว่าในวันนั้นอาจารย์ติดธุระงานและได้แจ้งแล้วว่าจะมาเข้าสอนช้ากว่าเวลาปกติหน่อย ให้นักศึกษารอเรียน แต่เนื่องด้วยฝนตกหนักมาก ทำให้เพื่อนๆบางส่วนก็ได้กลับบ้านไปแล้วและคงคิดว่าอาจารย์ไม่สอนแล้วด้วย เพราะรอเป็นเวลานานแล้ว หัวหน้าห้องเลยโทรแจ้งกับอาจารย์ให้ทราบว่าเพื่อนๆกลับไปแล้วเป็นส่วนใหญ่ อาจารย์จึงยกเลิกการเรียนการสอนในวันนี้
วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557
บทความ
วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด็ก ๆ จริงหรือ ? ถ้าเด็ก ๆ เรียนวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจะยากเกินไปไหม ? ควรจะให้เด็ก ๆ อนุบาลเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร ? คำถามเหล่านี้ต่างพ่อแม่ผู้ปกครอง และแม้แต่คุณครูเองก็ยังสงสัยอยู่ แท้จริงแล้ววิทยาศาสตร์คือความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำ ความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง ซึ่งความพยายามเช่นนี้จะติดตัวกับมนุษย์เรามาตั้งแต่
แรกเกิด เห็นได้จากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเขาเจอ และบางครั้งก็เป็นคำถามที่ยากเกินกว่าที่ผู้ใหญ่จะให้คำตอบ
ผู้ใหญ่ หลายคนที่ไม่เข้าใจในธรรมชาติความเป็นนักวิทยาศาสตร์ตัวน้อยๆ ของเด็ก จึงปิดกั้นโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการไม่ให้ความสนใจกับคำถามและการ ค้นพบแบบเด็กๆ หรือไม่ได้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิด ที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสมซึ่งนั่นทำให้การพัฒนาทักษะของเด็กต้องขาดตอนไปอย่างน่าเสียดาย
ดร. วรนาท รักสกุลไทย นักการศึกษาปฐมวัย ผู้อำนวยการโรงเรียนเกษมพิทยา (ฝ่ายอนุบาล) กล่าวว่า "เราคงทราบดีกันอยู่แล้วว่าวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเพียงใด แต่สำหรับเด็กอนุบาล แนวทางการสอนต่างหากที่จะทำให้เด็กสนใจ สิ่งสำคัญที่สุดคือครูต้องแม่นยำในพัฒนาการของเด็กเพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก รวมถึงต้องอย่าลืมเรื่องจินตนาการที่มีอยู่สูงในเด็กวัยนี้" ทั้ง นี้ การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในด้านวิทยาศาสตร์นั้น อาจไม่จำเป็นต้องแยกออกมาสอนเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ และอาจไม่ต้องกล่าวคำว่าวิทยาศาสตร์เมื่อให้เด็กทำกิจกรรมเลยด้วยซ้ำ เพียงแต่ครูปฐมวัยควรจะตระหนักรู้ว่ากิจกรรมที่จัดให้กับเด็กในแต่ละช่วง เวลานั้นเป็นการส่งเสริมทักษะและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์อะไรให้กับเด็กๆ และควรจะจัดกิจกรรมอย่างไรเพื่อจะสามารถตอบสนองและต่อยอดธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างเป็นระบบ
ดร.เทพกัญญา พรหมขัติแก้ว นักวิชาการสาขาวิทยาศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. กล่าวถึงแนวทางในการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอนุบาลว่า"แนวทางขอสสวท.คือต้องการให้คุณครูบูรณาการวิทยาศาสตร์เข้าไปในการเรียนการสอนปกติของ เด็ก ๆ ซึ่งครูและนักการศึกษาปฐมวัยอาจจะมีคำถามว่าจะต้องแยกวิทยาศาสตร์ออกมาเป็นอีกวิชาหนึ่งไหม จริง ๆ คือไม่ต้อง เพราะการเรียนรู้ในระดับปฐมวัยจะเน้นการเรียนรู้แบบองค์รวม ไม่ต้องแยกเป็นวิชาเพราะวิทยาศาสตร์คือกระบวนการการเรียนรู้ อยากให้คุณครูมองว่า มันคือการเรียนรู้ธรรมชาติรอบตัวของเด็กๆ" " สำหรับปัญหาที่พบในขณะนี้ก็คือ บางครั้งเด็กมีคำถาม แล้วครูตอบไม่ได้ เพราะเราก็ต้องเข้าใจครูปฐมวัยด้วยว่า อาจไม่มีพื้นฐานในสายวิทย์มากนัก ดังนั้นเมื่อครูเกิดตอบคำถามเด็กไม่ได้ก็จะเกิดหลายกรณีตามมา เช่น ครูบอกเด็กว่า เธออย่าถามเลย เด็กก็ถูกปิดกั้นการเรียนรู้ไปเสียอีก กับอีกแบบคือ ครูตอบคำถามเด็ก ซึ่งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ควรจะเป็นการเรียนรู้ไปด้วยกัน ให้เด็กหาคำตอบด้วยตัวเอง ไม่ใช่รอให้ครูหามาป้อน และถ้าครูตอบผิดเด็กก็อาจจำไปผิด ๆ ได้"
นอกจากนี้ ดร.เทพกัญญา ยังได้ให้แนวทางในการ "สืบเสาะความรู้ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก" อันประกอบแนวทางปฏิบัติ 5 ข้อดังนี้
1. ตั้งคำถามที่เด็กสามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเอง เช่น คำถามเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว หรือโลกของเรา
2. ออกไปหาคำตอบด้วยกัน เนื่องจากคำถามในระดับเด็กอนุบาลมักจะเปิดกว้าง ดังนั้นการค้นหาคำตอบอาจมีครูคอยช่วยจัดประสบการณ์ให้เด็กตามที่เขาตั้งขึ้น
3. เมื่อขั้นสองสำเร็จ เด็กจะเอาสิ่งที่เขาค้นพบมาไปตอบคำถามของเขาเอง ในขั้นนี้คุณครูอาจช่วยเสริมในแง่ของความครบถ้วนสมบูรณ์หรือในด้านของเหตุและผล
4. นำเสนอสิ่งที่เขาสำรวจตรวจสอบมาแล้วให้กับเพื่อน ๆ
5. การนำสิ่งที่เด็กค้นพบคำตอบนั้นไปเชื่อมโยงกับคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์
สำหรับข้อ 5 นั้น ดร.เทพกัญญากล่าวว่า ในระดับเด็กอนุบาลอาจยังไม่สามารถก้าวไปถึงจุดนั้นได้ อาจต้องเป็นเด็กชั้นประถมศึกษาขึ้นไป แต่คุณครูก็ไม่ควรละเลย หากมีเด็กอนุบาลบางคนเข้าใจ คุณครูก็อาจช่วยให้เขาสามารถอธิบายได้แบบวิทยาศาสตร์ แต่ถ้าไม่ถึงก็ไม่จำเป็นต้องเคี่ยวเข็ญเด็ก ๆ แต่อย่างใดไม่ เพียงแต่คุณครูและโรงเรียนที่จะเป็นผู้ส่งเสริมทักษะด้านวิทยาศาสตร์ให้กับ เด็ก ๆ แต่พ่อและแม่เองนั้นก็มีบทบาทมากเช่นกัน แนวทางดี ๆ ข้างต้นอาจเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยให้เด็ก ๆ และครอบครัวในยุคต่อไปเข้าใจ และรักใน "วิทยาศาสตร์" ได้มากขึ้นก็เป็นได้ค่ะ
บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 23/09/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434
การนำประยุกต์ใช้
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ เกี่ยวกับเรื่องวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งมีความจำเป็นอย่างมากสำหรับเด็ก เพราะสิ่งต่างๆที่ของเเต่ล่ะกลุ่มได้นำมานี้ก็คือสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา และเด็กก็เคยเห็นทำให้เด็กได้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้นเเละรู้ว่าสิ่งนี้มีประโยชน์เเละมรกี่สายพันธุ์
การประเมิน
- ตนเอง ตั้งใจเรียนบ้าง คุยกันบ้างในระหว่างที่อาจารย์สอน แต่ก็ยังมีการจดบันทึกทุกครั้งที่เรียน เเต่งกายเรียบร้อย
- เพื่อน มีการส่งเสียงดังกันบ้าง แต่ก็ช่วยกันตอบคำถาม เเต่งกายเรียบร้อย
- อาจารย์ผู้สอน มีการสอนเนื้อหาได้เข้าใจ และมักจะใช้คำถามปลายเปิดในการถาม แล้วให้นักศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม มีการนำเสนอ เพาว์เวอร์พอย ให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น
บันทึกอนุทินครั้งที่ 5
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
รหัสวิชา EAED3207
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 16/09/57 ภาคเรียนที่ 1/2557
กลุ่ม102 เรียนวันอังคาร 14:10 - 17:30 ห้อง 434
สรุปความรับของเเสง
ความลับของเเสง
แสงคือคลื่นชนิดหนึ่งเหมือนกับคลื่นของน้ำทะเลมีความยาวของแสงสั้นมากและในขณะเดียวกันก็มีคลื่นที่เร็วมาก 300,000 ก.ม ต่อวินาที และแสงมีความสำคัญมากกับการดำเนินชีวิตของคน พืช และสัตว์ ถ้าเกิดเราอยู่ในที่มืดแล้วจู่ๆก็เกิดแสงสว่างขึ้นมา เราจะเกิดอาการแสบตา เพราะเกิดจากการปรับตัวกับแสงสว่างไม่ทัน การเปลี่ยนแปลงปริมาณแสงเร็วเกินไป
สาเหตุที่เราสามารถมองเห็นวัตถุได้นั้น ก็เพราะว่า แสงส่องมาโดนวัตถุแล้วก็สะท้อนจากวัตถุเข้ามาสู่ตาของเรา
วัตถุบนโลกมีทั้งหมด 3 แบบ
1.วัตถุโปร่งแสง คือ แสงทะลุผ่านไปได้บางส่วน มองเห็นไม่ชัด
3.วัตถุโปร่งแสง คือแสงผ่านไปปได้ทั้งหมด สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
4.วัตถุทึบแสง คือ ดูดกลืนแสงบางส่วนไว้แล้วสะท้อนส่วนที่เหลือเข้าตาเรา
ในหลักการสะท้อนของแสง เมื่อแสงสะท้อนจากวัตถุจะพุ่งไปทางทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของแสงที่สองลงมาตลอดเวลา เช่นเดียวกับการสองกระจก มักจะกลับข้างกับตัวเราเสมอ เหมือนกับการที่เราใส่นาฬิกาข้างขวา แต่เมื่อเราส่องกระจกก็จะกลายเป็นนาฬิกาข้างซ้าย เป็นต้น
ตา ของเรานั้นมีรูเล็กๆ เรียกว่า รูรับแสง เมื่อผ่านรูรับแสงก็จะกลับหัว แต่ที่เราเห็นภาพเป็นปกตินั้น เพราะว่าสมองกลับภาพเป็นปกติโดยอัตโนมัตินั้นเอง
การหักเหของแสง เกิดขึ้นเพราะแสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางคนละชนิดกัน เช่น เมื่อแสงเดินทางผ่านอากาศเข้าสู่ตู้กระจกที่มีน้ำ น้ำนั้นจะมีความหนาแน่นกว่าอากาศ ทำให้แสงเคลื่อนไปได้ช้ากว่าในอากาศ เส้นทางการเดินของแสงจึงหักเหไปด้วย จากนั้นเมื่อแสงพุ่งจากน้ำเข้าสู่อากาศ แสงก็จะเคลื่อนที่ได้เร็ว เส้นทางการเดินเคลื่อนที่ของแสงจึงกลับมาเป็นเหมือนเดิม
เงา เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับแสง เกิดขึ้นได้เพราะแสง ป็นหลักธรรมชาติคือเงาของวัตถุทีี่จะเกิดขึ้นจากแสงที่เดินทางเป็นเส้นตรงไปเรื่อยๆ เมื่อมีวัตถุเข้ามาขวางทางเดินของแสงไว้ พื้นที่ด้านหน้าของวัตถุ แสงส่องไปไม่ถึงเลยไม่มีการสะท้อนเกิดขึ้น จึงเกิดเป็นพื้นที่สีดำๆ ก็คือเงา นั่นเอง
การนำไปใช้ประโยชน์
สามารถนำเนื้อหาที่เรียน นำไปใช้เป็นความรู้ให้เเก่ได้ในอนาคต สามารถนำมาจัดกิจกรรมให้เเก่เด็กได้
การประเมิน
- ตนเอง ตั้งใจเรียนบ้าง คุยกันบ้างในระหว่างที่อาจารย์สอน แต่ก็ยังมีการจดบันทึกทุกครั้งที่เรียน เเต่งกายเรียบร้อย
- เพื่อน มีการส่งเสียงดังกันบ้าง แต่ก็ช่วยกันตอบคำถาม เเต่งกายเรียบร้อย
- อาจารย์ผู้สอน มีการสอนเนื้อหาได้เข้าใจ และมักจะใช้คำถามปลายเปิดในการถาม แล้วให้นักศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม มีการนำเสนอ เพาว์เวอร์พอย ให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)